อยากสร้างนวัตกรรมรึเปล่า? ถ้างั้นจงเป็น “นักปัจจุบันนิยม”





อยากสร้างนวัตกรรมรึเปล่า

     เมื่อวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 2011 ที่ MIT Media Lab ในเคมบริดจ์ (Massachusetts Institute of Technology)กำลังพบปะกับอาจารย์ นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ ตอนนั้นเขากำลังพิจารณาว่า ควรให้ผมเป็นผู้อำนวยการคนต่อไป ของแล็บนี้หรือเปล่า

     คืนนั้น ตอนเที่ยงคืน เกิดแผ่นดินไหวความรุนแรงระดับ 9 ที่ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกของญี่ปุ่น เขาก็เลยลงมือทำสิ่งที่ผมรู้สึกตามสัญชาตญาณว่าควรทำ นั่นคือเข้าอินเตอร์เน็ตและพยายามค้นหาว่า เขาจะทำอะไรได้บ้างด้วยมือของเขาเอง เขาได้พบกลุ่มกลุ่มเซฟแคส (Safecast) พวกเขาตัดสินใจว่าจะลองวัดระดับกัมมันตรังสีและเผยแพร่ข้อมูลออกไปให้ทุกคนรู้ 

     คุณจำสมัยที่ยังไม่มีอินเตอร์เน็ตได้ไหม สมัยก่อนอินเตอร์เน็ตชีวิตก็เรียบง่ายอะไรๆ ก็เป็นไปตามหลักของยูคลิด นิวตัน ค่อนข้างทำนายได้ คนเราก็พยายามทำนายอนาคต แม้แต่นักเศรษฐศาสตร์แล้วพออินเตอร์เน็ตเกิดขึ้นโลกเราก็เริ่มซับซ้อนสุดๆ ต้นทุนการสื่อสารถูกสุดๆและเร็วสุดๆ 

     เเละที่ MIT Media Lab เขาไม่เพียงแค่สร้างฮาร์ดแวร์ เขาทำทุกอย่างทั้งชีววิทยาด้วย ฮาร์ดแวร์สิ่งที่เกิดขึ้นทั้งในวงการซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และวิศวกรรมชีวภาพ นี่คือวิธีคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมที่ใหม่แตกต่างจากกฎเกณฑ์เดิมๆที่เรามีสำหรับสถาบันต่างๆใช้ไม่ได้อีกแล้วและพวกเขาหลายคน ณ ที่นี้ ก็ทำงานบนหลักการที่แตกต่างกันไป หนึ่งในหลักการทีเขาชอบที่สุดคือพลังการดึง นั่นคือแนวคิดการดึงทรัพยากรมาจากเครือข่ายเมื่อเราต้องการใช้แทนที่จะเก็บสะสมไว้ที่ศูนย์กลางแล้วควบคุมทุกสิ่งทุกอย่าง

     แม้โลกจะซับซ้อนสุดๆแต่สิ่งที่เราต้องทำนั้นเรียบง่ายมาก เพียงแค่เราวางแผนทุกอย่างล่วงหน้า เก็บสำรองทุกอย่างไว้และมุ่งความสนใจเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ตื่นตัวรับรู้สิ่งต่างๆอย่างเต็มที่และอยู่กับปัจจุบันสุดๆและเราควรเป็นนักปัจจุบันนิยม

อ้างอิง : ted.com

แปลและเรียบเรียงโดย Pongpol Puksai

เงื่อนไขการแสดงความคิดเห็น ๆ
- ไม่สามารถ copy ข้อความจากที่อื่น แล้วนำมา paste ในช่องแสดงความคิดเห็น
- ไม่สามารถใส่ชื่อเว็บไซต์ใด ๆ ก็ตาม ลงในช่องแสดงความคิดเห็น
- ระบบสามารถรับข้อความ ได้สูงสุดเพียง 2,000 ตัวอักษร ต่อหนึ่งครั้ง
- ผู้ดูแลเว็บไซต์ จะลบข้อความที่ไม่เหมาะสม และข้อความโฆษณาสินค้า หรือบริการ
error: