สพป. สระบุรี เขต 1 รับสมัครครูผู้สอน 10 อัตรา วุฒิ ป.ตรี 16-22พ.ย.66

Advertisement   Advertisement   ประกาศสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1 รับสมัครบุคคลเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ตําแหน่งครูผู้สอน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1 ตำแหน่งครูผู้สอน(กลุ่มวิชาเอกปฐมวัย,ภาษาไทย,คอมพิวเตอร์,ภาษาอังกฤษ,สังคมศึกษา) 10 อัตรา คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง (1) มีคุณวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือทางอื่นที่ ก.ค. หรือ ก.ค.ศ.รับรอง และ กําหนดเป็นคุณสมบัติสําหรับตําแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกลุ่มวิชา หรือทาง หรือสาขาวิชาเอก Advertisement (2) มีใบประกอบวิชาชีพครู หรือหลักฐานที่ใช้แสดงในการประกอบวิชาชีพครูตามที่ คุรุสภาออกให้เพื่อปฏิบัติหน้าที่สอน และในวันจ้างเป็นพนักงานราชการ หลักฐานที่ใช้แสดงในการประกอบ วิชาชีพครูตามที่คุรุสภาออกให้เพื่อปฏิบัติหน้าที่สอน ต้องยังไม่หมดอายุ อัตราค่าตอบแทน : 18,000 บาท ผู้ประสงค์จะสมัครเข้ารับการสรรหาและเลือกสรร ขอรับใบสมัครและยื่นใบสมัครด้วย ตนเองที่ อาคาร 3 (เรือนไทย) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1 ถนนมิตรภาพ ตําบล ปากเพรียว อําเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี […]

หนุ่มจีนรีวิวภาษาไทย สุดซับซ้อน ทั้งตัวอักษร-การออกเสียง ยิ่งเรียนยิ่งยาก!

คลิปไวรัล หนุ่มจีนรีวิวการเรียนภาษาไทย สุดซับซ้อน มีพยัญชนะ-สระมากมาย ถ้าออกเสียงผิดชีวิตเปลี่ยน บอกเลยว่ายิ่งเรียนยิ่งยาก! เมื่อเร็ว ๆ นี้ บนโลกออนไลน์มีการแชร์คลิปของหนุ่มจีนคนหนึ่งที่ได้รีวิวการเรียนภาษาไทย บอกเลยว่าแต่ละอย่างที่พูดมานั้นเป็นจริงทุกประการ ทำชาวต่างชาติที่เคยเรียนภาษาไทยมึนหัวกันมาแล้ว โดยคลิปดังกล่าวมาจากช่อง @mr.chenrg เริ่มแรกหนุ่มเจ้าของคลิปได้กล่าวว่า ภาษาไทยเป็นภาษาที่เริ่มต้นยาก ยิ่งเรียนก็ยิ่งยาก ซึ่งเราสามารถเปรียบภาษาไทยกับตัวพินอินของจีน เพราะเป็นภาษาที่ประกอบด้วยพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์เหมือนกัน ฟังดูเหมือนง่ายแต่มันไม่ง่ายเลย อย่างแรก “การออกเสียงภาษาไทย” สระและพยัญชนะในพินอินรวมกันแล้วมีแค่ 47 ตัว ต่างจากภาษาไทยที่มีพยัญชนะถึง 44 ตัว สระอีก 32 ตัว และวรรณยุกต์อีก 5 เสียง แถมยังมาแยกเสียงต่ำ เสียงกลาง เสียงสูง สระเสียงสั้น สระเสียงยาว อักษรนำอีก บางคำที่มีวรรณยุกต์เหมือนกันแต่การออกเสียงก็ต่างกันไป นอกจากนี้ยังมีเสียงสั้น เสียงยาว หากออกเสียงผิดความหมายก็ต่างไปด้วย เช่น จิบ-จีบ หรือบางคำก็ออกเสียงใกล้เคียงกัน ซึ่งยากสำหรับชาวต่างชาติมาก เช่น ดี-ตี อย่างที่สองคือ “การเขียนภาษาไทย” เนื่องจากพยัญชนะบางตัวมีการเขียนที่คล้ายคลึงกัน […]

error: