เช็กเลย! 3เดือนสุดท้าย เงินเดือนขรก.-ลูกจ้าง-บำนาญ ปี64 เข้าวันไหนบ้าง?

Advertisement เหลืออีกแค่ 3 เดือนก่อนสิ้นปี 2564 สำหรับข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และข้าราชการบำนาญ ที่จะได้รับเงินเดือน-เงินบำนาญ โดยก่อนหน้านี้กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ได้ประกาศปฏิทิน เงินเดือนข้าราชการลูกจ้างประจำ และข้าราชการบำนาญ ประจำปี พ.ศ. 2564 ว่าเงินเดือนและค่าจ้างเข้าวันไหนบ้าง Advertisement โดย 3 เดือนสุดท้ายมีรายละเอียด ดังนี้ Advertisement 1. เงินเดือนข้าราชการและค่าจ้างลูกจ้างประจำ ปี 2564 เดือนตุลาคม เข้าวันที่ 26 ต.ค.64 เดือนพฤศจิกายน เข้าวันที่ 25 พ.ย.64 เดือนธันวาคม เข้าวันที่ 27 ธ.ค.64     2. บำนาญรายเดือนของผู้รับบำนาญ ปี 2564 เดือนตุลาคม เข้าวันที่ 21 ต.ค.64 เดือนพฤศจิกายน เข้าวันที่ 23 พ.ย.64 เดือนธันวาคม เข้าวันที่ […]

มาแล้ว!! กำหนดวันจ่ายเงินเดือนข้าราชการ-ลูกจ้าง ปี2562 เมมไว้ จดไว้ แชร์ได้เลย!!

  กรมบัญชีกลาง ได้ส่งหนังสือถึงส่วนราชการต่าง ๆ เรื่อง การกำหนดวันและวิธีการปฏิบัติงานสำหรับงบบุคลากรและเงินอื่นที่กำหนดจ่ายสิ้นเดือน (ที่ กค 0412.4/ว 547)  หรือที่เรียกว่า กำหนดวันจ่ายเงินเดือนข้าราชการและลูกจ้าง ประจำปี 2562 โดยมีรายละเอียดดังนี้… เงินเดือนเข้าบัญชีข้าราชการและลูกจ้าง เดือน มกราคม 2562 >>  วันที่ 28 มกราคม 2562 เงินเดือนเข้าบัญชีข้าราชการและลูกจ้าง เดือน กุมภาพันธ์ 2562 >>  วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 เงินเดือนเข้าบัญชีข้าราชการและลูกจ้าง เดือน มีนาคม 2562 >>  วันที่ 26 มีนาคม 2562 เงินเดือนเข้าบัญชีข้าราชการและลูกจ้าง เดือน เมษายน 2562 >>  วันที่ 25 เมษายน 2562 เงินเดือนเข้าบัญชีข้าราชการและลูกจ้าง เดือน พฤษภาคม 2562 >>  วันที่ […]

(บทความเก่ามาเล่าใหม่)เลื่อนเงินเดือนระบบใหม่6% ฝันที่ไปไม่ถึง..ข้าราชการไทย

  สำหรับข้าราชการไทยเงินเดือนถือเป็นรายได้หลักของครอบครัว การขึ้นเงินเดือนข้าราชการดูจะเป็นเรื่องใหญ่ที่มีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเสมอ ดังจะเห็นได้จากทุกครั้งที่รัฐบาลประกาศนโยบายขึ้นเงินเดือนข้าราชการ ราคาของสินค้าในท้องตลาดจะต้องมีการขยับขึ้นทุกครั้งไป การเปลี่ยนระบบโครงสร้างเงินเดือนของข้าราชการไทยครั้งใหญ่เมื่อปี พ.ศ.2552 ได้มีการยกเลิกระบบบัญชีเงินเดือนมาเป็นการเลื่อนขั้นเงินเดือนแบบเปอร์เซ็นต์ (ขึ้นได้ไม่เกินรอบละ 6%) เป็นการมอบอำนาจให้ส่วนราชการบริหารเงินที่ได้รับจัดสรร (3%) ของตนเอง ซึ่งวิธีการเลื่อนเงินเดือนแบบนี้ เริ่มมีการใช้กับข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน 2554 (การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนรอบที่ 1 (ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคม) จนถึงปัจจุบันมหาวิทยาลัยได้ใช้วิธีการประเมินการเลื่อนขั้นเงินเดือนแบบนี้ไปแล้ว 3 รอบ ผลการประเมินเป็นที่พอใจบ้าง ไม่พอใจบ้าง ก่อให้เกิดเป็นคำถามคาใจกับพวกเราหลายๆ ประเด็น เช่น ตกลงว่าการใช้ระบบการขึ้นเงินเดือนแบบใหม่ดีกว่าแบบเดิมหรือไม่? ในวันนี้ผมจะยังไม่ตอบว่าระบบใหม่ดีกว่าระบบเก่าหรือไม่ แต่อยากขอให้ท่านทั้งหลายลองเปรียบเทียบจำนวนเงินที่ท่านได้รับจากการเลื่อนเงินเดือนทั้งสามรอบที่ผ่านมากับบัญชีการเลื่อนขั้นเงินเดือนแบบเก่าดู ท่านทั้งหลายก็จะได้คำตอบสำหรับตัวท่านเองในประเด็นนี้ แต่ผมมีสิ่งหนึ่งที่อยากจะบอกท่านคือ ไม่ว่าผลของการเปรียบเทียบที่ท่านพบจะเป็นอย่างไร ท่านจะชอบหรือไม่ชอบวิธีการเลื่อนขั้นเงินเดือนแบบใหม่นี้ก็ตาม ท่านทั้งหลายที่เป็นข้าราชการก็จำเป็นจะต้องยอมรับ และใช้ระบบการเลื่อนเงินเดือนแบบนี้ต่อไป จนกว่ารัฐบาลจะมีการปรับเปลี่ยนนโยบายอีกครั้งหนึ่ง ดังนั้น ณ จุดนี้ ผมจึงอยากให้พวกเราหันมาทำความเข้าใจกับ “กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ” แบบใหม่ที่มหาวิทยาลัยใช้ประเมิน ซึ่งผมสรุปขั้นตอนสำคัญๆ ของการประเมินออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังแสดงใน (ดูตารางที่ 1) […]

1 2
error: